วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Case เท่ห์ๆ แปลกตา 3

ลำดับ 1 จาก http://www.techdigest.tv/2008/04/dark_side_of_th.html


ลำดับ 2 จาก http://mie-forwardmail.blogspot.com/2008/09/wow-new-case-pc.html



ลำดับ 3 จาก http://mie-forwardmail.blogspot.com/2008/09/wow-new-case-pc.html



ลำดับ 4 จาก http://www.jedineko.com/?p=545







>>หน้าแรก อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 1
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 2
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 3

Case เท่ห์ๆ แปลกตา 2

ลำดับ 1 จาก http://gizmodo.com/photogallery/redwood%3Dpc/1670166







ลำดับ 2 จาก http://transformersp.blogspot.com/2007/08/optimus-prime-pc-case.html







ลำดับ 3 จาก http://www.bobiland.com/pictures/weird_pc_case.php





>>หน้าแรก อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 1
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 2
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 3

วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Case เท่ห์ๆ แปลกตา 1

ลำดับ เป็นของ Asus รุ่น ASUS Vento 3600 Case จาก http://www.pcstats.com/




ลำดับ 2 มาจากเว็บ http://www.techfresh.net/




ลำดับ 3 Case RAIDMAX NINJA 918WB จาก http://www.chome.info/


ลำดับ 4 Case RAIDMAX SAKITA2 WOP จาก http://www.chome.info/caseFudin.html



ลำดับ 5 จาก http://techible.com/427/cool-computer-case



>>หน้าแรก อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 1
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 2
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 3

เรียนรู้...คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

เรามาทำความรู้จัก Hardware คอมพิวเตอร์กันก่อน
เริ่มด้วย
Case
เคส (Case)
มีลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยมที่ทำด้วยเหล็กหรือพลาสติกชนิดแข็ง ซึ่งเคสนี้จะเป็นที่บรรจุชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ โดยทั่วไปเคสจะมีอยู่ 2 แบบคือ
-แบบที่วางในแนวนอนหรือเดสก์ทอป (Desktop)


-แบบวางในแนวตั้งหรือ ทาวเวอร์ (Tower) สำหรับแบบทาวเวอร์นั้น



เรายังแบ่งออกได้เป็น 3 ขนาดคือ
-ขนาดเล็กที่เรียกว่า มินิทาวเวอร์ (Mini-Tower)

-ขนาดกลาง หรือมีเดียมทาวเวอร์ (Medium-Tower)



-ขนาดใหญ่หรือทาวเวอร์ (Tower) เครื่องพีซีที่เราใช้งานกันอยู่ตามบ้านหรือสำนักงานส่วนมากจะเป็นเคสแบบมินิทาวเวอร์และมีเดียมทาวเวอร์ สำหรับแบบทาวเวอร์ขนาดใหญ่นั้นมักจะพบในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก


ที่มา : หนังสือ "ช่างคอมมืออาชีพ 2006"

>>หน้าแรกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 1
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 2
>>Case เท่ห์ๆ แปลกตา 3


CPU
CPU > Central Processing Unit : หน่วยประมวลผลกลาง

หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสำคัญมากที่สุด ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนประสำคัญ 3 ส่วน คือ

1. หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)หน่วยคำนวณตรรกะทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวข้องกับ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้หน่วยคำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์ ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำนวน 2 จำนวน เป็นต้น ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามคำสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป
2. หน่วยควบคุม (Control Unit)หน่วยควบคุมทำหน้าที่คงบคุมลำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง และรวมไปถึงการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย เมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผล ตามชุดคำสั่งใด ผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคำสั่งนั้น ๆ เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์เสียก่อน โดยข้อมูล และชุดคำสั่งดังกล่าวจะถูกนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลักก่อน จากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคำสั่งจาก ชุดคำสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจำหลักออกมาทีละคำสั่งเพื่อทำการแปล ความหมายว่าคำสั่งดังกล่าวสั่งให้ ฮาร์ดแวร์ส่วนใด ทำงานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบความหมายของ คำสั่งนั้นแล้ว หน่วยควบคุมก็จะส่ง สัญญาณคำสั่งไปยังฮาร์แวร์ ส่วนที่ทำหน้าที่ ในการประมวลผลดังกล่าว ให้ทำตามคำสั่งนั้น ๆ เช่น ถ้าคำสั่ง ที่เข้ามานั้นเป็นคำสั่งเกี่ยวกับการคำนวณ หน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณ คำสั่งไปยังหน่วยคำนวณและตรรกะ ให้ทำงาน หน่วยคำนวณและตรรกะก็จะไปทำการดึงข้อมูลจาก หน่วยความจำหลักเข้ามาประมวลผล ตามคำสั่งแล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผล หน่วยคงบคุมจึงจะส่งสัญญาณคำสั่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ ที่กำหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์ดังกล่าว อีกต่อหนึ่ง
3. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูล และชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อบแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล
ที่มา : http://yalor.yru.ac.th/~nipon/Archi_STD43/chapter11/group_08/

>>โครงสร้างของ CPU
>>หน้าที่ของ CPU
>>กลไกการทำงานของ CPU
>>พัฒนาการของ CPU
>>การจำแนก CPU
>>การเปรียบเทียบรุ่นของ CPU
>>การโอเวอร์คล็อก (Overclock)